Feeds:
Posts
Comments

Human Trafficking in Thailand

Siroj Sorajjakool

From Back Cover:

Few subjects elicit greater moral outrage than human trafficking. Media reports of dehumanizing practices such as slavery, abduction, child prostitution, and torture, along with shocking statistics, form the basis of public knowledge. Those who work closely with victims acknowledge the complexity of the issue, and it is this complexity, rather than loose statistics and conjecture, that deserves our attention.

With sensitivity and candor, this book addresses the reality of human trafficking in Thailand, dissecting studies, presenting facts, and dismissing stereotypes. It focuses on the areas of fishing, agriculture, domestic work, sex work, and the trafficking of children, weaving individual narratives and official studies into the wider history of Thailand’s changing economy and labor situation. It also details how the Thai government has addressed the issue, reflects on the roots of human exploitation, and suggests a way forward.

This book raises much-needed awareness of commonly held misconceptions and clarifies what we know and what we have yet to discover about the trafficking of persons to and from Thailand.

Political Polarization and Discourse

ส่วนตัวสิ่งที่ผมสนใจมากกว่าพรรคไหนจะมาเป็นนายก อุดมการณ์อะไรและนโยบายใครดี สิ่งที่มันสกิตอยู่ที่หัวใจคือ อะไรทำให้เกิดการแตกแยก 20 กว่าปีที่สหรัฐ ผมเห็นความแตกแยกที่มีแต่จะรุ่นแรงขึ้นทุกที polarization อะไรคือแหล่งที่มา คือคำถามที่ผมพยายามถามตัวเองมานานมากแล้ว ก็ไม่แน่ใจว่าคำตอบจะตรงไหมแต่ก็เป็นเพียงข้อสังเกตุส่วนตัว

นักวิชาการท่านหนึ่งเคยกล่าวไว้ ประชาธิปไตรจะไปได้ราบเรียบเมือไม่มีฝ่ายใดสูญเสียมากเกินไป ผมว่าข้อนี้สำคัญ ถ้าไม่มาก ก็ยอมกันได้ แต่เมื่อไหรที่มากเกินไป แรงต่อต้านก็จะก่อตัว และความแรงก็จะไปตาม ความมากของการสูญเสีย ถ้ามีซ้ายจัด ก็จะต้องมีขวาจัดแน่นอน ถ้ามี ขวาจัด ก็จะมีซ้ายจัด อีกประการที่น่าสนใจที่เกี่ยวโยงกับการสูญเสียมากหรือน้อยก็คือวาทกรรม หากวาทกรรมสร้างความคาดหวังสูง เมื่อไม่ถูกเลือก การสูญเสียของประชากรที่รับวาทกรรมนี้ก็จะสูงตามเช่นกันก่อให้เกิดแรงต่อต้านที่เพิ่มทวี

เมื่อพูดถึงวาทกรรม สิ่งหนึ่งที่สังเกตุเห็นบ่อยมากๆก็คือการที่คนเรามักตัดสินคนอื่นจากวาทกรรมของเรา คนจะดีหรือไม่ดี เราควรตัดสินเขาจากวาทกรรมของเขาไม่ใช่วาทกรรมของเรา อันนี้เป็นปัญหาเรื่องการสื่อสารที่น่าพิจารณา เช่นการตัดสินคนอื่นว่าชังชาติ ในวาทกรรมเรา เขาชังชาติ แต่ในความคิดของเขา เขาแค่ไม่ชอบระบบที่เป็นอยู่และต้องการเปลี่ยนแปลง เช่นเดียวกับการตัดสินบางกลุ่มว่าไม่ประชาธิปไตร ในมุมมองของเขา ประชาธิปไตรคือวาทกรรมตะวันตกเพื่อ ตะวันตกใช้เพื่อประโยชน์ของตะวันตกโดยไม่ได้สนใจจริงๆว่าจะมีความเท่าเทียมหรือไม่ เมือเราตัดสินคนจากวาทกรรมของเรา ไม่ใช่ของเขา ความเข้าใจผิดหลากหลายก็เกิดขึ้น และบ่อยครั้งโดยไม่มีความจำเป็น

อีกประการหนึ่ง เพราะวาทกรรมมันสามารถทำคนดีให้เป็นคนเลว คนเก่งให้เป็นคนโง่ คนปกติให้เป็นคนไม่ปกติ ในทางตรงข้ามก็เช่นกัน คนไม่ดีกลายเป็นคนดี คนไม่ปกติกลายเป็นคนปกติ เพียงการเปลี่ยนวาทกรรม ความขัดแย้งหลากหลายที่ผมสังเกตุเห็นก็มาจากการที่เราตัดสินคนอื่นจากวาทกรรมของเรา ไม่ใช่วาทกรรมของเขา ส่วนวาทกรรม เราควรเข้าใจว่าวาทกรรมก็คือวาทกรรม ไม่ใช่สัจธรรม สิ่งที่ควรทำคือการวิเคราะห์และเปรียบเทียบวาทกรรมของทั้งสองฝ่าย ข้อดี ข้อเสีย ที่ไปที่มาของอำนาจและความรู้ ของแต่ละวาทกรรม

การวิเคระห์วาทกรรมควรเริ่มจากการเรียนรู้ที่จะฟังความเห็นต่าง ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจาก กระบวนการของเราแต่ละคนในการผูกตัวเองเข้ากับวาทกรรมนั้นๆ  เราเริ่มจากวาทกรรมที่ได้ใจเรา ที่เราเข้าถึงได้ ที่ตอบโจทย์ของเรา และเราก็เริมเก็บข้อมูลเพื่อสนับสนุนวาทกรรม นั้นๆ เริ่มโยงตรรก เริ่มสร้างองค์ความรู้ จนในที่สุดวาทกรรมไม่เป็นเพียงวาทกรรม แต่เป็นอัตลักษณ์ของเรา เป็นคุณค่าของการเป็นเรา สิ่งนี้ทำให้เป็นการยากที่จะฟังความเห็นต่าง เพราะถ้าใช่ มันคือการต้องค้นหาคุณค่าและอัตลักษณ์ใหม่ มันคือการยอมรับว่าเราผิด สิ่งที่เราทุมเททั้งกายใจ มันไม่ถูกต้อง สิ่งนี้คืออุปสรรค์ของการฟัง จะสังเกตุเห็นได้ว่าคนที่ไม่มีอุดการณ์มาก่อนเมื่อมารับฟัง ก็เป็นเรื่องง่ายที่พวกเขาจะรับแนวคิด ข้อมูลและตรรก เพราะเขาไม่ต้องไปลบล้างข้อมูล ตรรกเก่าที่เคยมีมา  เข้าแค่รับวาทกรรมใหม่เข้ามา แต่คนที่ได้สร้างระบบความคิด พร้อมมีความผูกพันธ์ในหลายๆด้าน จะให้เปลี่ยน หมายถึงการต้องเข้าไปงัดแงะหลายสิ่งหลายอย่างร่วมถึงความผูกพันธ์ระดับจิตใจ

ผมคิดว่าถ้าสังคมจะไปต่อ มันหมายความถึงการเลิกวิจารณ์คนด้วยวาทกรรมของเรา มันหมายถึงการเรียนรู้ที่จะตั้งใจฟัง ด้วยจิตใจที่พร้อมที่จะรับผิดชอบชั้วดี ของตัวเราเอง การพูดคุยอย่างเท่าเทียม เท่าเทียมทางปัญญา หมายถึงการที่เราไม่คิดว่าเราเหนือกว่าเขา เท่าเทียมทางจริยธรรม หมายถึงการที่เราไม่คิดว่าเราดีกว่าเขา เท่าเทียมทางคุณค่า หมายถึงการที่เราไม่คิดว่าเรา มีคูณค่ามากกว่าเขา เท่าเทียมทางยุธศาสตร์หมายถึงการที่เราไม่คิดว่าเรามีแผนพัฒนาที่ดีกว่าใครๆ บ่อยครั้งเราพูดถึงความเท่าเทียมทางสิทธิและเศรษฐกิจ แต่เราไม่พูดถึงความเท่าเทียมทางปัญญา ทางจริยธรรม ทางคุณค่า (ดีคือดี ไม่มีความจำเป็นต้องดีกว่า)บนรากฐานของความเท่าเทียมคือพื้นที่ๆปลอดภัยเพื่อการแลกเปลี่ยน เพื่อการหาวาทกรรมร่วม ที่จะสามารถช่วยให้สังคมไปต่อได้

Political Polarization and Discourse

As I watched where our country is moving, the political polarization, I am grieved by such a divide within the country. In the end it is no longer which party win and which party lose but the question of the underlying factors leading to such polarization. I have seen this in the US while residing there. And now that I return to Thailand, I witness a similar phenomenon. Why polarization?

I once read an article on democracy. The author stated clearly that democracy works when the loss is minimum on both sides. If one group of people have to give up the major part of their beliefs and values, this will only cause political instability. The political process is when people negotiate, give and take on small increment. Another interesting aspect is the discourse. How much we consider our loss may be determine by our political expectations. If our ideology is much higher than reality can offer consider human nature and political structure, then the loss will definitely be greater as well.

Another aspect that I observe is the issue of communication. Often we judge others by our discourse. However, people should be judged by their very own discourse. How can we judge them by somethings they do not believe in. As for the discourse, that’s another issue that needs to be debated and work through in order to identify commonality and differences. Relating to this topic is the deconstruction process. It is much easier for someone to embrace a discourse if they have no prior solid belief system that they have been thinking through and gathering information to support their discourse. However when we speak to someone who has already well-formed discourse who have been gathering information and forming informed opinion regarding a particular political issue, it is much harder to convince them otherwise. And this is for both sides of the political parties.

Where people are not able to talk to each other, that spells the end of a civilized society. One of the greatest observations it seems is the inability to listen, inability to take others’ perspectives seriously. To believe that we have it all, is to end all possible dialogues and conversation.

Over the past many years, there has been an emerging theme in my dream. I did not pay much attention but I often awaken with a more intense feeling. It was about having to be at a certain place whether to lecture, do a presentation, visit, or perform a certain appointed task. The tasks always involved people. But before I could perform my task, I had to use the toilet. Always, it was hard to find the toilet. Often the toilet was broken, rundown, dirty, or just did not work and I had to keep searching. At times, it was open in public. In desperation, I forced myself to use the toilet. At times, using in an open public area. Once done, I would rush to do the appointed task. But I was always late to the lecture, to class, to some other duties. Yesterday I had a similar dream. I was supposed to give a lecture to medical students. And I had to use the restroom. Again, taking so much time and finally used a rundown toilet. It was 30 minutes into class time. I learned that there were 7 students in class. I was a little relieved. When I arrived, there were three students left in class. But they were not disappointed. They were actually having a good time discussing or engaging in some meaningful activities. When I woke up, I decided to reflect upon my dream. It seems that this may represent holding back unwanted experiences, or even toxic circumstances in one’s life. Holding until it is no longer sustainable for the internal self. The search goes on for the place where I can get rid of these toxic or unpleasant experiences but having a hard time or I was not able to find the most appropriate places to unload my experiences. The limited option and the inaccessibility of that space became the challenge. And while I did, perhaps not in the most viable venues, it was not the most pleasant experience. This holding back seems to affect my performance whether it be at work or any other duties I had to do. Sometimes, we slowly torture our spirits without knowing. This is a reminder for me to be truer to myself.

Coloniality and Democracy

I have been trying to research the relationship between coloniality and democracy for quite a while. My interest on this connection started while reading Mignolo’s The Darker Side of Western Modernity where he tracked fundamental concepts such as capitalism, science, industry, democracy and human rights to the rise of modernity. And while I had glimpses of the connection from a few sources, this article provides a very clear picture for each of us to ponder this relationship that has significant impact on the geo-politics of global south (for full article, please go to the link).

Luciana Ballestrin

“Currently, the imposition of democracy through either humanitarian or military interventions from outside, represents a paradox in practical terms (or moral terms to ensure its legitimacy). “We have moved on from a characterization of “people without writing” of the 16th Century, to “people without history” in the 18th and 19th Centuries, and “people without development”, in the 20th Century and more recently, “people without democracy” in the 21st Century ”(Grosfoguel, 2008: 48). By dehumanizing democracy and human rights and turning them into sterile, strategic discourses, the answers are no less violent:

“If Eurocentric thinking claims “democracy” to be a Western natural attribute, Third World fundamentalisms accept this Eurocentric premise and claim that democracy has nothing to do with the non-West. Thus, it is an inherent European attribute imposed by the West. (…).Third World fundamentalisms respond to the imposition of Eurocentred modernity as a global/ imperial design with an anti-modern modernity that is as Eurocentric, hierarchical, authoritarian and antidemocratic as the former (Grosfoguel, 2008: 73)”

(99+) Luciana Ballestrin | Universidade Federal de Pelotas (Federal University of Pelotas) – Academia.edu

(99+) (PDF) (2015) Coloniality and Democracy – english version | Luciana Ballestrin – Academia.edu

วาทกรรม

การเปลี่ยนคุณค่าภายนอกให้กลายมาเป็นคุณค่าภายในผ่านกระบวนการทางการผลิตความรู้

The  following is an interesting article by Raimundo Barrito entitle: The Epistemological Turn in World Christianity: Engaging Decoloniality in Latin American and Caribbean Christian Discourses

ABSTRACT:
This article critically inquires into world Christianity discourse and its
methodological tools from a Latin American perspective. It argues that since world Christianity’s initial concepts and theories derived to a large extent from the African experience and from a pronounced Anglo-Saxon perspective, its methodological tools may not automatically apply to Latin America. Given the interdisciplinary and intercontextual nature of the field, world Christianity scholarship requires the use of a variety of methods and approaches that take seriously the reality and location of peoples, communities, and discourses with whom scholars partner for the production of knowledge. With a focus on Latin America, the author brings world Christianity discourse into conversation with Latin American decolonial theory. The backdrop of this conversation is the revitalization of indigenous communities and religions in Latin America, and their contribution to a fresh view of interculturality as a language for a life betwixt and between in the region.

For full article, please see

https://www.academia.edu/38697869/The_Epistemological_Turn_in_World_Christianity_Engaging_Decoloniality_in_Latin_American_and_Caribbean_Christian_Discourses?email_work_card=minimal-title

 

The Soul Rerouting Path

The soul yearning

Longing for the taste of stars

The distance never ceases

The depth that erodes slowly

Losing the path

The voice so very soft

Slowly floats along the path of the wind

To a place unrecognizable

Looking in the mirror

Seeing a stranger staring back

While time is speeding away

The clock ticking

Life spent in the quest for depth

Is left on the surface

Fabricated tables

The texture of wood

one comes to realize

is factory made

From the factory wood

to the tree

the soul reroutes its path

return to God

When I turned 50 I begin to realize that I cannot tell people what to believe or what to do. I look back and feel humble in the face of all the mistakes I’ve made and regrets that I’ve accumulated. But that’s not the end of the struggle. In the past 3 years I’ve experienced what I call spiritual desolation. I’ve made numerous heart felt petitions to God, those prayers that came from the depth of my soul. And again and again and again the answers never came. Opportunities passed right before me. I remember nights of pleading with God, pleading to the point where I just could not find words to speak. Pleading in exhaustion. And the lack of answers just passed right before me. I learn something within this period of spiritual isolation. Perhaps God does not solve your problems, remove the obstacles, fix the issues. Perhaps problems and issues remain and we just have to try our best to face the problems and be willing to face consequences. And the question remain, where is God in all these?

I’ve come to believe that there are those random moments in our lives where we sense that there’s something infinite, it is feeling of how small we are and yet we are a part of this Infinite Being from which we draw a deep sense of meaning. And we do not really know where our lives will lead. We do not know how God really works. But in those random moments, we know that we are a part of something infinite.

There is a second movement to this journey for me. How do we know that God is here when we face disappointments, and regrets, and our frailty as human beings, and when nothing is going the way we hope, and we are tired? We know that God is here when in the midst of these troubling events and struggles and mistakes we long to be an instrument of God’s love. In the midst of our pain, we complain to God, we beg God for answer, we request, we negotiate, we get upset, and there we are on our knees pleading with God to be an instrument of love.

ปัญญาจารย์ 9:10

10 มือของเจ้าจับทำการงานอะไร จงกระทำการนั้นด้วยเต็มกำลังของเจ้า เพราะว่าในแดนคนตายที่เจ้าจะไปนั้น ไม่มีการงานหรือแนวความคิด หรือความรู้ หรือสติปัญญา

เรื่องของโต๊ะ

ในสมัยเป็นเด็กๆมี ทีมตลกรุ่นแรกมาออกรายการ
มีชายสองคนใส่ชุดจีนนั้งอยู่ที่โต๊ะ
ชายคนแรกถามชายที่นั้งอีกข้าง
ลื้อชื่อะไร
ชายคนที่สองตอบ
อั่วนะชื่อตังโต๊ะ
ทำไมลื้อชื่อตั่งโค๊ะ
ก็เพราะอั่วเอาโต๊ะมาตั้ง
มันเป็นตรรกที่แปลกๆ

ตอนเรียนปรัชญา นักปรัชญาชอบถาม
เรารู้ได้ยังไงว่าโต๊ะนี้มีจริง

ผมก็ถามเพราะผมชอบปรัชญา
หลายปีที่ผมถาม
โต๊ะ เรารู้ได้ไง ว่ามันคือโต๊ะ
อะไรทำให้โต๊ะเป็นโต๊ะ

วันหนึ่งผมไปซื้อโต๊ะ
มันทำด้วยไม้เนื้อแข็ง หนาหนึ่งนิ้ว ขาเหล็กสีดำ
มันทน มันเท่ห์
มันตั้งที่ห้องครัวเปิด
บรรเจิดด้วยทิวทัศษ์ เขียวอราม

แต่วันหนึ่งพี่มาเห็นโต๊ะ บอกว่าสวยดี
อยากได้แบบนี่เลย
ชวนไปซื้อโต๊ะ

ผมเลยพาไปบ้านถวาย
เราก็เดินเข้าไปร้านขายโต๊ะ
คนขายเป็นชายอายุห้าสิบต้นๆ
เขาไม่เห็นว่าเรามา

เพราะเขาทุ่มเทกับการออกแบบโต๊ะ
พอรู้ตัวอีกทีเห็นผมกับพี่ยื่นอยู่

เขาบอกว่า
โต๊ะมันไม่เป็นเพียงโต๊ะ
ความหมายของโต๊ะอยู่ที่ความสัมพันธ์กับคนที่ใช้โต๊ะ
ผมฟังแล้วชอบใจมาก

เหมือนเอานักปรัชญาอัตถิภาวะนิยมมาทำโต๊ะ

เขาเคยเป็นเจ้าของ Resort แห่งหนึ่ง
แต่ประสบกับ mid life crisis
ฉันคือใคร ใครคือฉัน
ฉันไม่รู้ ฉันตอบไม่ได้
ฉันถามพระภิกษุๆ กลืนนำลาย
ฉันหรือ ฉันคือมื้อเช้าและมื้อเพล
เขาเลนต้องหา

เขาเริ่มซึมเศร้า เขาออกค้นหา
จนในที่สุดเขาค้นพบว่า
เขาเป็นศิลปินเป็นนักออกแบบโต็ะและเก้าอี้
โต๊ะทุกตัวมีเอกลักษณ์ มีชื่อ
เขาเป็นศิลปินที่ทำงานด้วยใจ
ไม่ได้ผลิตสินค้าเพื่อหารายได้
แต่ถ้าได้ก็ดี

เขาศูนย์เสียหลายอย่างในช่วงวิกฤติ
แต่ที่เขาได้คืนมาคือใจ

ผมมองดูโต๊ะผม
ทำไมโต๊ะผมไม่มีเรื่องเหมือนโต๊ะของพี่
ผมอยากได้โต๊ะที่มีเรือง
มันมีความหมาย

ผมมีมอไซฮอนด้า AX1  ปี 92
อาจารย์อธิคมบอกผมว่า
มันดูๆไม่ครบนะ มาลองคันใหม่ไหม
ผมก็อยากมาก

แต่คันที่ผมมี มันมีเรื่อง
เพราะเจ้าของเป็นชาวอังกฤษ
ซื้อมามื่อสอง
แล้วขับจากพะเยาไปถึง Shangrila
ซึ่งเป็นประตูสู่ธิเบส มีความสูงที่ 10000 ฟุต
มันเป็นมอไซที่ได้สัมผัสกับสัจจธรรม

Google Map ตอบว่า Can’t find a way there

มันมีเรื่อง

ผมมีกางเกงสีนำเงินเก่าๆตัวหนึ่ง
ซื้อมาจากตลาด 250 บาท แต่มันใส่สบายมาก
และก็จะมีรอยขาดที่หัวเขาเล็กๆ
ไม่สังเกตุก็ไม่เห็น

แต่ชอบใส่เพราะมันมีเรื่อง
เพราะวันหนึ่ขนาดขี่มอไซวิบาก 250
บิดซิ่งเพราะรีบขณะที่จะออก
จาก Big C มีรถตู้ตัดหน้า
ล้มแบบสวย ลงไปนอนอยู่ข้างฟุตบาท
ช่างที่เห็นช่วยเข็นมาที่ร้านแล้วถามว่า

ลุง ลุงไหวป่าว
ไหว ผมตอบ

ทุกครั้งที่ใส่มันคอยเตื่อน
ว่าถึงจะลุง ก็ยังไหว ลุงไหว

เมือปี 88 ผมนังรถทัวร์จากสิงคโปร์มาหาดใหญ่กับอาจารย์สมชัยแลัคณะ
ประมาณตี 1 รถพริควําสึ่ตลบในมาเลเซีย
กระดูกมือซ้ายหักและกระดูไห้ปลาร้าหัก
หมออินเทอรมาดูบอกไม่เป็นไร กินยาแก้ปวดเดียวก็หาย
ผมเจ็บและเหนือยมาก
บอกตัวเองว่าถ้าถึงหาดใหญ่จะนอนรรพักให้สบาย
ถึงหาดใหญ่นำท่วม
ผมไปรพ เขาว่าไม่หนักนอนรพไม่ได้
ผมถามไปนอนไหน
ไปนอนวัด
ผมนอนวัดเอารองเท้าเป็นหมอน
สองชั่วโมงไม่ไหวเลยเดินำปที่รพทหาร
เขาadmitทันที
ตอนเช้า มีพยาบาลสาว
มาดูแล
เธอยิ้ม ผมหายเจ็บทันที
เธอถามว่าเป็นอะไรยังไง
เธอก็จัดการเอาอาหาร เอายา เช็ดหน้า
เธอเห็นเสื้อผมขาดเธอก็ไปหามาให้จนได้
เธอยิ้มและวอกให้ดูแลตัวเอง
แล้วเธอก็กลับไปนั้งเขียนบันทึกที่โต๊ะ

งานจากใจมักจะมาพร้อมเรื่อง
ไม่ใช่แค่ตับไตใส่พุง
แต่อาจเป็นตับของลุงที่เสียลูกที่เยาววัย
เลยย้อมใจในวงเหล้า

หรืออาจเป็นไตจากความดันสูง
เพราะชีวิตที่ดันทุรัง ที่ต้องดั่งดน เพราะอยู่ตัวคนเดียว

หรือพุงของคนเหง่า ที่มีเพียงอาหารเป็นเพื่อน

เวลาคุณนั้งที่โต๊ะเขียนบันทึกคนไข้
หวังว่าโต๊ะคุณจะจำเรื่องราวจากใจ
เพราะคุณใส่ใจในสิ่งที่ทำ

ชายชรา มองหน้าชายหมุ่มที่กำลังไฟแรงค้นหาสัจธรรม สายนะ ถ้าสายมันตึงเกิน มันจะขาด

ถ้ามันหย่อนมันจะไม่สามารถผลิตเสียงเพลงที่ไพเราะ เสียงไพเราะสายต้องตึงพอ ไม่ตึงมากไม่หย่อนมาก

เรากลังอยู่ในสังคมที่มีความแตกแยกสูง polarization กลายเป็นปรากฎการณ์ที่เราเห็นอยู่ทุกวัน ในแวดวงการเมื่อง การศึกษา การปฎิบัติ มุมมอง ผมสังเกตุว่า บ่อยครั้ง รากของ polarization ดูเหมือนจะเป็นความคิดแนว linear logic  ซึ่งมีรากมาจากสมัยใหม่นิยม (modernity) เพราะ ใน linear logic ที่ได้เข้ามามีบทบาทมากในระบบการศึกษาของเรา มันมีทางออกแค่สองทาง ไม่ถูกก็ผิด ไม่ดีก็เลว ไม่ขาวก็ดำ มันคือขอบเขตุของเหตุผล ที่มักจะใช้กัน และบ่อยครั้งความจริงมักอยู่กลางๆ ทุกครั้งที่ผมได้ยินคำพูดแน่ extreme  ผมระวังเสมอ ไม่ใช่ไม่มีความเป็นไปได้แต่ มันน่าสงสัย วเพราะแนวคิดแบบนี้มักจะไม่สามารถ เก็บข้อปรีกย่อยที่ซับซ้อน ในอีกแง่มุมปรัชญาเอเซียมักจะเน้นการความสามารถที่จะยึกขั้วสองขั้วที่แย้งกัน โดยไม่ให้เป็นปฎิปักษ์